รักษาโรคมะเร็งด้วยยามุ่งเป้า Targeted Therapy ยามุ่งเป้าคืออะไร ทำไมใช้รักษามะเร็ง

รักษามะเร็งด้วยยารักษาแบบมุ่งเป้า

วิธีการรักษามะเร็งชนิดหนึ่ง ที่กำหนดเป้าหมายการรักษาตรงไปที่เซลล์มะเร็ง

แชร์

การรักษามะเร็งด้วยยารักษาแบบมุ่งเป้า คืออะไร

การรักษามะเร็งด้วยยารักษาแบบมุ่งเป้า คือวิธีการรักษามะเร็งชนิดหนึ่ง ที่กำหนดเป้าหมายการรักษาตรงไปที่เซลล์มะเร็ง การรักษาชนิดนี้จะทำลายแต่เพียงเซลล์มะเร็งเท่านั้น แต่จะไม่ทำอันตรายเซลล์ปกติ การรักษาชนิดนี้สามารถทำงานด้วยตัวเองหรือสามารถททำการรักษาควบคู่ไปกับการรักษาชนิดอื่นๆ เช่นอย่างเคมีบำบัด (ทั้งแบบดั้งเดิมหรือแบบมาตรฐาน) การผ่าตัดหรือการฉายรังสี


เมื่อเกิดมะเร็งยีนในเซลล์มะเร็งจะเกิดการเปลี่ยนแปลง ให้เซลล์มะเร็งมีความแตกต่างจากเซลล์ปกติ เมื่อเซลล์เกิดความเปลี่ยนแปลงจะส่งผลให้เซลล์เกิดการเติบโตหรือเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตามยังมีมะเร็งอีกมากมายหลายชนิดและไม่ใช่มะเร็งทุกชนิดที่จะมีรูปแบบที่เหมือนกัน มะเร็งที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยรายแรกอาจมีความแตกต่างจากมะเร็งที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยอีกคน หากมีความเข้าใจในข้อมูลเหล่านี้จะช่วยในการพัฒนายาที่สามารถมุ่งเป้ารักษาไปที่เซลล์มะเร็งได้ โดยยารักษาแบบมุ่งเป้าจะทำการจะปิดหรือป้องกันการเติบโตของเซลล์มะเร็ง หรืออาจเข้าไปช่วยทำให้เซลล์มะเร็งเข้าสู่กระบวณการทำลายตัวเอง


ยารักษามะเร็งแบบมุ่งเป้ามีความแตกต่างจากเคมีบำบัดอย่างไร

ยารักษามะเร็งแบบมุ่งเป้าจะทำการรักษามะเร็งด้วยวิธีที่แตกต่างจากเคมีบำบัด โดยมีความแตกต่าง 2 รูปแบบหลัก ดังนี้

  • ยารักษามะเร็งแบบมุ่งเป้าจะทำลายแค่เฉพาะเซลล์มะเร็ง แต่จะไม่ทำลายเซลล์ปกติ ในทางตรงกันข้ามการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดจะทำลายทั้งเซลล์ปกติและเซลล์มะเร็ง
  • วิธีการทำงานของยารักษามะเร็งแบบมุ่งเป้าคือการป้องกันการเพิ่มจำนวนของเซลล์มะเร็งซึ่งวิธีนี้สามารถช่วยป้องกันไม่ให้เซลล์มะเร็งเพิ่มจำนวนตัวเอง แต่การรักษาด้วยเคมีบำบัดจะฆ่าเซลล์มะเร็งที่มีอยู่แล้วโดยไม่ได้ป้องกันการเพิ่มจำนวนอย่างยารักษามะเร็งแบบมุ่งเป้า

ยารักษามะเร็งแบบมุ่งเป้าทำงานอย่างไร

การรักษาด้วยยามะเร็งแบบมุ่งเป้ามีอีกชื่อเรียกว่ายาเฉพาะบุคคล เนื่องจากยาสามารถมุ่งเป้าไปที่ส่วนหรือสารเฉพาะจุดที่ต้องการทำลายในเซลล์มะเร็ง โดยจุดเฉพาะเหล่านี้อาจมีความแตกต่างกันออกไปถึงแม้ผู้ป่วยอาจเป็นมะเร็งชนิดเดียวกันก็ตาม เมื่อผู้ป่วยได้รับการตรวจชิ้นเนื้อหรือการผ่าตัดแล้ว อาจจะพบเนื้องอกชนิดต่างๆ ที่จำเป็นต้องได้รับการรักษาโดยการมุ่งเป้าไปที่จุดที่แตกต่างกัน การค้นหาจุดจะช่วยให้แพทย์สามารถทำการรักษาที่ถูกต้องและแม่นยำและจะช่วยให้การรักษาผู้ป่วยเกิดประสิทธิภาพอย่างสูงสุด

วิธีการจำแนกการบำบัดด้วยยามะเร็งแบบมุ่งเป้าสามารถแบ่งเป็นการใช้ยาประเภทที่มีโมเลกุลเล็ก หรือใหญ่ ดังต่อไปนี้

  • ยามีโมเลกุลเล็กจะมีขนาดที่เล็กและสามารถเข้าไปในเซลล์มะเร็งได้ วิธีการทำงานคือการกำหนดเป้าหมายเฉพาะภายในเซลล์และทำงานโดยการป้องกันไม่ให้เซลล์มะเร็งเพิ่มจำนวนมากขึ้น
  • ยาที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่มักจะมีขนาดที่ใหญ่เกินเซลล์ วิธีการทำงานคือการโจมตีเซลล์มะเร็ง และตามด้วยการทำให้โปรตีนหรือเอนไซม์บนผิวของเซลล์เกิดอ่อนแอและหลังจากนั้นจะทำการทำลายโปรตีนและเอนไซม์เหล่านี้

ประเภทของยารักษามะเร็งแบบมุ่งเป้า

การรักษามะเร็งแบบมุ่งเป้าสามารถรักษามะเร็งได้หลายชนิด การรักษามะเร็งแบบแบบมุ่งเป้ามีหลายประเภท ดังต่อไปนี้

  • สารยับยั้งกำเนิดหลอดเลือด - ยาชนิดนี้จะช่วยปิดกั้นเส้นเลือดที่ไปหล่อเลี้ยงเซลล์มะเร็งไม่ให้เซลล์มะเร็งเติบโต
  • มอโนโคลนอลแอนติบอดี - ยาชนิดนี้จะช่วยส่งยาที่มีโมเลกุลเข้าไปในเซลล์มะเร็งเพื่อทำลายเซลล์มะเร็ง
  • ยาที่ยับยั้งโพรทีเอโซม – ยาชนิดนี้จะช่วยทำลายโครงสร้างเซลล์มะเร็ง
  • ยาที่ยับยั้งการส่งทอดสัญญาณเข้าสู่เซลล์ - ยาขนิดนี้จะทำการแทรกแซงการส่งทอดสัญญาณของเซลล์เพื่อเปลี่ยนการทำงานของเซลล์

วิธีการรักษาด้วยยารักษามะเร็งแบบมุ่งเป้า

  • การรักษาด้วยยารักษาแบบมุ่งเป้าผ่านทางการฉีดเข้าเส้นเลือดดำ (IV Targeted therapy)  การรักษาด้วยยารักษาแบบมุ่งเป้าจะใช้ฉีดยาในปริมาณสูงเข้าสู่เส้นเลือด ในขณะที่การรักษาด้วยยาเคมีบำบัดจะทำการฉีดยาผ่านทางเส้นด้วยการใช้สายสวนในการส่งยาเคมีมำบัดเข้าสู่กระแสเลือด การรักษาด้วยยารักษาแบบมุ่งเป้า สามารถทำด้วยวิธีดังต่อไปนี้
    • การรักษาด้วย IV push – ยาจะถูกฉีดเข้าเส้นเอดผ่านการใช้สายสวน และจะใช้ระยะเวลาการทำไม่กี่นาที
    • การรักษาด้วย IV infusion – วิธีนี้จะใช้เวลาตั้งแต่สองสามนาทีจนถึงสองสามชั่วโมง และจะใช้เครื่องควบคุมการให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ (IV pump machine)
  • การรักษาด้วยยารักษาแบบมุ่งเป้าผ่านการรับประทานยา (Oral Targeted Therapy)  การรักษาด้วยการรับประทานยาทำได้โดยผู้ป่วยจะรับประทานยาด้วยการกลืนเช่นเดียวกับยาชนิดอื่นๆ ดังนั้นจึงเป็นสิ่งสำคัญทีควรจะแน่ใจว่าผู้ป่วยทราบถึงวิธีการรับประทานยา ปริมาณที่่ควรรับประทาน เวลาและระยะเวลาในการรักษา

ผู้ป่วยควรแจ้งให้แพทย์ทราบเกี่ยวหากพบปัญหาการรักษาด้วยการรับประทานยา รวมถึงควรแจ้งผลข้างเคียงในระหว่างการรักษา เพื่อที่แพทย์จะสามารถทำการปรับแผนการรักษาให้เหมาะสมแก่ผู้ป่วย


ผลข้างเคียงการรักษาด้วยยารักษามะเร็งแบบมุ่งเป้า

การบำบัดด้วยยารักษามะเร็งแบบมุ่งเป้าสามารถก่อให้เกิดผลข้างเคียงที่มีความแตกต่างจากการรักษาด้วยเคมีบำบัด ผู้ป่วยบางรายอาจได้รับผลข้างเคียงเพียงเล็กน้อย หรือไม่ได้รับผลข้างเคียงเลย เพราะความรุนแรงของผลข้างเคียงจะแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับตัวยาและตัวบุคคล ในบางครั้งอาจพบผลข้างเคียงที่พบได้ไม่บ่อย และผลข้างเคียงดังกล่าวอาจกลายเป็นภาวะแทรกซ้อนที่มีความรุนแรง  อย่างไรก็ตามผลข้างเคียงส่วนใหญ่จะบรรเทาอาการลงเมื่การรักษาเสร็จสิ้นและเมื่อเซลล์ปกติเริ่มมีการฟื้นตัว ระยะเวลาของผลข้างเคียงจะแสดงอาการที่แตกต่างกันไปแล้วแต่กรณี


ปัญหาที่เกี่ยวกับผิวหนัง

  • รู้สึกปวดแสบปวดร้อนบริเวณผิว
  • ผิวหนังไวต่อแสง
  • ผื่นบริเวณหนังศีรษะ หน้า คอ หน้าอก และหลังส่วนบน
  • ผิวแห้งลอกเป็นขุยบริเวณมือและเท้า
  • เล็บมือและเล็บเท้ามีสีแดง บวมและเปราะ
  • เกิดอาการโรคมือเท้าปาก
  • ผมบางและแห้ง
  • ผมสีเข้มขึ้น
  • ผิวหนังเหลืองขึ้น
  • เปลือกตาแห้ง แดง และผิดรูป 

ปัญหาผิวหนังจะมีการแสดงอาการที่แตกต่างกันไป โดยเริ่มตั้งแต่อาการไม่รุนแรงปานกลางจนถึงรุนแรง หากมีอาการที่ไม่รุนแรงหรือมีอาการรุนแรงระดับปานกลาง แพทย์จะไม่ทำการปลี่ยนยารักษามะเร็งแบบมุ่งเป้า แต่หากเกิดอาการที่มีความรุนแรง อาจจะจำเป็นต้องปรับขนาดยาสำหรับการบำบัดรักษา


ผลข้างเคียงที่พบได้บ่อยรวมถึงผลข้างเคียงที่มีความรุนแรง

การรักษาด้วยยารักษามะเร็งแบบมุ่งเป้ายังมีผลข้างเคียงอื่นๆ ที่อาจมีความคล้ายคลึงกับผลข้างเคียงการรักษาด้วยเคมีบำบัด ดังนี้

  • คลื่นไส้และอาเจียน
  • ท้องเสียหรือท้องผูก
  • เจ็บบริเวณปาก
  • หากใจลำบาก
  • ไอ
  • อ่อนเพลีย
  • ปวดศีรษะ
  • ผมร่วง
  • อวัยวะถูกทำลาย ยกตัวอย่างเช่น ต่อมไทรอยด์ ตับ หรือไต
  • อาการแพ้ (ในขณะกำลังรับยาผ่าน IV)
  • เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดการติดเชื้อ
  • การเกิดมะเร็งซ้ำ
  • การบวม
  • แผลหายช้า
  • ภูมิคุ้มกันทำลายตัวเอง
  • กล้ามเนื้อหัวใจถูกทำลาย
  • ความดันโลหิตสูง
  • เลือดไหล หรือเกิดลิ่มเลือด

ผลข้างเคียงที่มีอาการรุนแรง ยกตัวอย่างเช่น อาการหายใจลำบาก เวียนศีรษะ เจ็บแน่นบริเวณหน้าอกหรือลำคอ รวมถึงปากและลิ้นบวม


ข้อควรระวังเพื่อความปลอดภัยสำหรับการบำบัดด้วยยารักษามะเร็งแบบมุ่งเป้า
โดยปกติการรักษาแบบมุ่งเป้าผ่านการรับประทานยามักจะทำเองที่บ้าน และอาจมีตัวยาบางชนิดที่อันตราย ผู้ป่วยควรทำการปรึกษาแพทย์เพื่อสอบถามวิธีการจัดเก็บตัวยารักษามะเร็งแบบมุ่งเป้าอย่างถูกวิธี

เผยแพร่เมื่อ: 28 ธ.ค. 2020

แชร์

แพทย์ที่เกี่ยวข้อง

  • Link to doctor
    นพ. ศิโรช วงศ์ไวศยวรรณ

    นพ. ศิโรช วงศ์ไวศยวรรณ

    • รังสีวินิจฉัย
    • รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
    รังสีวินิจฉัย, รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
  • Link to doctor
    พญ. นารีนาฎ รัชพงษ์ไทย

    พญ. นารีนาฎ รัชพงษ์ไทย

    • รังสีรักษามะเร็งวิทยา
    Radiation Oncology
  • Link to doctor
    พญ. ฐิติพร จารุเธียร

    พญ. ฐิติพร จารุเธียร

    • รังสีรักษามะเร็งวิทยา
    โรคมะเร็งปอด, Thoracic Tumor, Radiation Oncology
  • Link to doctor
    พญ. สาริน กิจพาณิชย์

    พญ. สาริน กิจพาณิชย์

    • รังสีรักษามะเร็งวิทยา
    Head and Neck Cancer, Upper GI Cancer, Central Nervous System Tumors, Brain and Spinal Tumor, Brain Metastasis, Intensity-Modulated Radiotherapy (IMRT), Volumetric Modulated Arc Therapy (VMAT), Stereotactic Radiosurgery (SRS), Stereotactic Radiotherapy (SRT), Stereotactic Body Radiotherapy (SBRT), Proton Therapy, Radiation Oncology
  • Link to doctor
    พญ. มณทนีย์ พึ่งพงษ์

    พญ. มณทนีย์ พึ่งพงษ์

    • รังสีวินิจฉัย
    • รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
    รังสีวินิจฉัย, รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
  • Link to doctor
    พญ. ปิยพร บุญศิริคำชัย

    พญ. ปิยพร บุญศิริคำชัย

    • รังสีวินิจฉัย
    • รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
    รังสีวินิจฉัย, รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
  • Link to doctor
    พญ. อาภารัตน์ สกุลจันทร์

    พญ. อาภารัตน์ สกุลจันทร์

    • รังสีวินิจฉัย
    • รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
    รังสีวิทยา, รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
  • Link to doctor
    พญ. กิตต์วดี ศักดิ์ศรชัย

    พญ. กิตต์วดี ศักดิ์ศรชัย

    • รังสีรักษามะเร็งวิทยา
    Advanced Radiotherapy, Breast Clinical Oncologist, Radiation Oncology
  • Link to doctor
    พญ. รวิสรา เลิศไพศาล

    พญ. รวิสรา เลิศไพศาล

    • รังสีวินิจฉัย
    • รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
    รังสีวิทยา, รังสีวินิจฉัย, รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
  • Link to doctor
    ศ.นพ. ชวลิต เลิศบุษยานุกูล

    ศ.นพ. ชวลิต เลิศบุษยานุกูล

    • รังสีรักษามะเร็งวิทยา
    Intensity-Modulated Radiotherapy (IMRT), Volumetric Modulated Arc Therapy (VMAT), Stereotactic Radiotherapy (SRT), Head Cancer, Neck Cancer, Breast Cancer, โรคมะเร็งปอด, Esophageal Cancer, Gastroesophageal Cancer, Pancreaticobiliary Cancer, Soft Tissue Sarcoma, Radiation Oncology
  • Link to doctor
    พญ. พัชรี หงษ์สมาทิพย์

    พญ. พัชรี หงษ์สมาทิพย์

    • รังสีวินิจฉัย
    • รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
    รังสีวิทยา, รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
  • Link to doctor
    ผศ.นพ. ธีรศักดิ์ ผิวปลั่ง

    ผศ.นพ. ธีรศักดิ์ ผิวปลั่ง

    • รังสีวินิจฉัย
    • รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
    รังสีวิทยา, รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง, ภาพวินิจฉัยในเด็ก
  • Link to doctor
    ผศ.นพ. ธรรมนูญ เรืองชัยจตุพร

    ผศ.นพ. ธรรมนูญ เรืองชัยจตุพร

    • รังสีวินิจฉัย
    • รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
    ภาพวินิจฉัยกระดูกและข้อ
  • Link to doctor
    ผศ.พญ. นิทรา  ปิยะวิเศษพัฒน์

    ผศ.พญ. นิทรา ปิยะวิเศษพัฒน์

    • รังสีวินิจฉัย
    • รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
    Thoracic Imaging
  • Link to doctor
    นพ. ยงยุทธ คงธนารัตน์

    นพ. ยงยุทธ คงธนารัตน์

    • รังสีรักษามะเร็งวิทยา
    Radiation Oncology, Breast Cancer, มะเร็งต่อมลูกหมาก, Intensity-Modulated Radiotherapy (IMRT), Image-Guided Radiotherapy (IGRT), Stereotactic Radiotherapy (SRT), Stereotactic Radiosurgery (SRS)
  • Link to doctor
    พญ. นิยตา จิตรภาษย์

    พญ. นิยตา จิตรภาษย์

    • รังสีวินิจฉัย
    • รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
    รังสีวิทยา, รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
  • Link to doctor
    พญ. พินพร เจนจิตรานันท์

    พญ. พินพร เจนจิตรานันท์

    • รังสีวินิจฉัย
    • รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
    รังสีวิทยา, รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
  • Link to doctor
    ผศ.นพ. วราวุฒิ สุขเกษม

    ผศ.นพ. วราวุฒิ สุขเกษม

    • รังสีวินิจฉัย
    • รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
    รังสีวิทยาโรคทรวงอก, รังสีวิทยาโรคมะเร็ง, เอกซเรย์คอมพิวเตอร์, เครื่องสร้างภาพในสนามแม่เหล็กไฟฟ้า, อัลตร้าซาวนด์
  • Link to doctor
    พญ. กาญจนา โชติเลอศักดิ์

    พญ. กาญจนา โชติเลอศักดิ์

    • รังสีรักษามะเร็งวิทยา
    Radiation Oncology
  • Link to doctor
    พญ. นภิศา บุนนาค

    พญ. นภิศา บุนนาค

    • รังสีวินิจฉัย
    • รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
    รังสีวิทยา, รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
  • Link to doctor
    นพ. ธีรกุล จิโรจน์มนตรี

    นพ. ธีรกุล จิโรจน์มนตรี

    • รังสีรักษามะเร็งวิทยา
    Intensity-Modulated Radiotherapy (IMRT), Volumetric Modulated Arc Therapy (VMAT), Radiation Oncology
  • Link to doctor
    ผศ.พญ. ดนิตา กานต์นฤนิมิต

    ผศ.พญ. ดนิตา กานต์นฤนิมิต

    • รังสีรักษามะเร็งวิทยา
    Intensity-Modulated Radiotherapy (IMRT), Image-Guided Radiotherapy (IGRT), Stereotactic Radiosurgery (SRS), Stereotactic Radiotherapy (SRT), Clinical Interest in Breast Cancer, Clinical Interest in Head and Neck Cancer, Clinical Interest in Lung Cancer, Radiation Oncology
  • Link to doctor
    พญ. ภวิกา ฤกษ์ธรรมกิจ

    พญ. ภวิกา ฤกษ์ธรรมกิจ

    • รังสีวินิจฉัย
    • รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง
    รังสีวิทยา, รังสีวินิจฉัย ภาพวินิจฉัยขั้นสูง, รังสีวินิจฉัยเต้านม
  • Link to doctor
    ผศ.นพ. จักรพงษ์ จักกาบาตร์

    ผศ.นพ. จักรพงษ์ จักกาบาตร์

    • รังสีรักษามะเร็งวิทยา
    Radiation Oncology
  • Link to doctor
    ผศ.พญ. วริศรา รงค์ทอง

    ผศ.พญ. วริศรา รงค์ทอง

    • รังสีวินิจฉัย
    • รังสีรักษาและมะเร็งวิทยา
  • Link to doctor
    พญ. ชนน์นิภา นันทวิทยา

    พญ. ชนน์นิภา นันทวิทยา

    • รังสีรักษามะเร็งวิทยา
    Radiation Oncology